วันอาทิตย์ที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

เทคนิคการสืบสวน พล.ต.ท.อำนวย นิ่มมะโน

กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับงานสืบสวน
พ.ต.อ.อำนวย  นิ่มมะโน  
จากผลการสำรวจวิจัยบทบาทที่ถูกต้องมากที่สุดคือ  “งานให้บริการแก่ประชาชน”
เพราะ   
1.ความไม่ชัดเจนในบทบาทหน้าที่                      งานตำรวจมีมากจนไม่แน่ใจว่า    
 เป็นงานของตำรวจหรือไม่
2.ถือเป็นงานที่มีความสำคัญรองลงมา                จึงไม่ตั้งใจทำจนถูกตำหนิ,    
 เราทุ่มแต่งานหลักคือ  ปราบปรามอาชญากรรมมากกว่างานบริการจนถูกตำหนิ

ตาม พ.ร.บ.ตำรวจ 2547  งานในหน้าที่ตำรวจสามารถแยกแยะได้ดังนี้
   1.รักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ
        -  สายตรวจ
        -  ตชด. 
   2.อำนวยความยุติธรรมในทางอาญา                     สอบสวน, สืบสวน
   3.บำบัดทุกข์  บำรุงสุข  ให้กับประชาชน                     ครอบจักรวาล
   4.การให้บริการแก่ประชาชน                                     งานจราจร  งานทะเบียน
งานที่ถูกตำหนิเป็นอันดับสอง   “งานอำนวยความยุติธรรมทางอาญา”  เพราะ
      1.มีการละเมิดศักดิ์ศรีแห่งความเป็นมนุษย์   การตรวจกัน  จับกุม  คุมขัง  
 สอบสวน  ลักษณะงาน
       2.บุคลากรขาดความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติ  โดยเฉพาะตำรวจฝ่ายสืบสวนสอบสวนเป็นหลัก
เหตุที่ทำงาน ตร.ยุคปัจจุบันทำงานยากกว่าอดีต  เนื่องจาก
   รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540
“ศักดิ์ศรีแห่งความเป็นมนุษย์” (ม.28)  
        สิทธิขั้นพื้นฐานที่รัฐจำต้องให้ความคุ้มครอง                       คือศักดิ์ศรีมีความเป็นมนุษย์
- ชีวิตร่างกาย   
- เสรีภาพ
- ชื่อเสียง
- ทรัพย์
รัฐธรรมนูญ ฉบับนี้จึงบัญญัติคุ้มครองไว้
1.คุ้มครองด้าน “ชื่อเสียง”
     ม.34 สิทธิของบุคคลในครอบครัว  เกียรติยศ  ชื่อเสียงหรือความเป็นอยู่ส่วนตัว
ย่อมได้รับความคุ้มครอง จะละเมิดหรือกระทบต่อสิทธิของบุคคลในครอบครัว เกียรติยศ  ศักดิ์ศรีหรือความเป็นอยู่ส่วนตัวจะกระทำมิได้ เว้นแต่กรณีที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณชน
   2.คุ้มครอง  “เสรีภาพ”
     การตรวจค้น  เพื่อพบและสิ่งของที่ได้มาจากการกระทำผิด    หรือได้ใช้ในการ
กระทำผิด   หรือมีไว้เป็นความผิด
        1.  ค้นตัว         
        2.  ค้นบ้าน            
     การออกตรวจค้น    เดิมตำรวจออกหมายค้นเอง   ใหม่  ขอหมายค้นจากศาล
        การจับ  เพื่อเอาตัวผู้กระทำผิดเข้าสู่กระบวนการยุติธรรม
       ตำรวจออกหมายจับเอง  (เดิม)

   ขออนุมัติกระทรวงมหาดไทยก่อนออกหมายจับ

           ขอหมายจับจากศาล (ปัจจุบัน)
              จับโดยไม่ต้องมีหมายจับ         ความผิดซึ่งหน้า

การสอบสวน  คือ  การรวบรวมพยานหลักฐาน   เพื่อพิสูจน์ความผิด    และ
เอาตัวผู้กระทำผิดมาลงโทษ
         เดิม      พนักงานสอบสวน
         ปัจจุบัน      มีผู้อื่นมาฟังการสอบสวน
               เด็ก มีสหวิชาชีพร่วมถามปากคำเด็ก
        ในการสอบสวน          พนักงานสอบสวนจะเปิดโอกาสให้ผู้ต้องหาอ้างพยาน
หลักฐานต่อสู้คดีเต็มที่
    การควบคุม  เป็นการควบคุมตัวผู้ต้องหา ไว้สอบสวนรวบรวมพยานหลักฐาน
โดยอำนาจของตำรวจ
        ควบคุมไว้ที่ สน.              7   วัน (เดิม)

               3  วัน

               48  ชั่วโมง   (ปัจจุบัน)
        ตัวเป็นเด็ก         24   ชั่วโมง
   สาเหตุที่เปลี่ยน กม.  เนื่องจากรูปแบบกระบวนการยุติธรรมไทยได้เปลี่ยนไป
รูปแบบกระบวนการยุติธรรมชั้นตำรวจ   จากรูปแบบเดิม                      ปัจจุบัน
   1.Crime  Control  Model  (รูปแบบควบคุมอาชญากรรม)  กฎหมายตามหลัง
   2.Due Process Model (รูปแบบหลักนิติธรรม - บังคับเชิง กม.อย่างเคร่งครัด) สนใจ กม.คุ้มครองสิทธิเสรีภาพประชาชนเป็นหลัก
   3.Restoration  Justice  Model   (รูปแบบเชิงสมานฉันท์ –    แบบใหม่ที่ไม่มุ่งลงโทษ   ใช้การไกล่เกลี่ยประนีประนอม    ให้คดีไม่ถึงศาล – โดยใช้คณะกรรมการ       ไกล่เกลี่ย
   - หลักรัฐธรรมนูญ 2540 แบบที่ 2  นำ แบบที่ 1 ตาม
   - การค้นตามรัฐธรรมนูญ ม.238  เริ่มบังคับใช้วันที่  11 ต.ค.2540 
   - เรื่องแนวทางปฏิบัติของตำรวจ  เป็นเรื่องละเอียดอ่อน และคลุมเครือ   :    ให้ระวังต้องศึกษาข้อกฏหมายให้ชัดเจน
3.คุ้มครอง ‘ทรัพย์”                   การค้น
4.คุ้มครอง  “เสรีภาพ”                                   การจับ
   รัฐธรรมนูญ ม.237  การจับและคุมขังบุคคลใดจะกระทำมิชอบ   เว้นแต่จะมีหมายศาล  หรือโดยกระทำผิดซึ่งหน้าหรือจับโดยเหตุอื่นตามกฎหมายบัญญัติ  โดยไม่ต้องมีหมาย  ซึ่งต้องอ้างเหตุจำเป็น
   -  ศาล + ตำรวจ + ยุติธรรม    พิจารณาร่วมกันร่างระเบียบราชการว่าด้วยแนวปฏิบัติในการออกหมายจับและหมายค้น  ผลการจับ
    สรุปการค้น ป.วิ ม.78
   -  จับความผิดซึ่งหน้า  จับได้  ตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ
     -  ตามอนุอื่นยังคลุมเครือ (2), (3)  ส่วนอนุ (4)  ชี้ให้จับยกเลิกไป

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น